ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

การวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ


เมื่อพูดถึงการ วิจัย ไม่ว่าจะชอบหรือไม่ชอบอย่างไร แต่การเรียนในระดับอุดมศึกษาปัจจุบัน ก็มุ่งเน้นให้นักศึกษาได้มีการทำวิจัยในประเด็นต่าง ๆ เพื่อแสวงหาความรู้ และส่งเสริมให้เกิดการคิดอย่างเป็นระบบ ในรูปแบบการทำ ปริญญานิพนธ์ สารนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ หรือแม้กระทั่ง ดุษฎีนิพนธ์ 

ความหมายของการวิจัย กล่าวโดยสรุปคือการวิจัย เป็นการค้นหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริงอย่างเป็นระบบเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และสังคมศาสตร์ ซึ่งนักวิชาการได้มีการแบ่งประเภทของการวิจัยออกเป็นหลายลักษณะ แต่ลักษณะการแบ่งที่เป็นที่รู้จักก็คือ การวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) และ การวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research)



การวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) หมายถึง การมุ่งหาข้อเท็จจริงหรือข้อสรุปในเชิงปริมาณ เน้นการใช้ข้อมูลที่เป็นตัวเลขเป็นหลักฐานยืนยันความถูกต้อง ในผลการศึกษาที่ได้ค้นพบ จากการใช้เครื่องมือการวิจัย ซึ่งมีลักษณะเป็นปรนัยในการเก็บข้อมูล เช่น แบบสอบถาม การสังเกต การสัมภาษณ์ การทดลอง เป็นต้น

การวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) หมายถึง การมุ่งหาข้อเท็จจริงจากการสังเกต การวิเคราะห์เนื้อหาจากเอกสาร หรือกลุ่มบุคคลที่ต้องการศึกษาโดยละเอียดอย่างเจาะลึก ด้วยวิธีการสังเกตแบบมีส่วนร่วม การสัมภาษณ์ ทั้งแบบทางการและไม่เป็นทางการ ซึ่งข้อมูลที่ได้จะเป็นลักษณะเป็นเหตุเป็นผล ไม่ใช่เชิงตัวเลข


แต่สำหรับใครที่กำลังปวดหัวกับงาน วิจัย ที่ได้รับมอบหมาย ไม่ว่าจะเป็น การวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) หรือ การวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) ในรูปแบบ การวิจัยเชิงธุรกิจ การวิจัยการสื่อสาร ปริญญานิพนธ์ สารนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ หรือ ดุษฎีนิพนธ์ หรือไม่มีเวลาหาข้อมูล ตลอดจนการคีย์ข้อมูล การลงรหัสแบบสอบถาม หรือใช้โปรแกรม SPSS ให้พวกเราทีมงาน Beary Tutor เป็นที่ปรึกษาสิครับ


ด้วยบริการรับจ้างเป็นที่ปรึกษา วางเค้าโครงงาน วิจัย ปริญญานิพนธ์ สารนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ หรือ ดุษฎีนิพนธ์ เขียนกรอบแนวคิด ตั้งสมมติฐานงานวิจัย สืบค้นข้อมูล ทบทวนวรรณกรรม ออกแบบสอบถาม คีย์แบบสอบถาม รัน spss ติวการใช้งาน spss วิเคราะห์ผลการวิจัย สรุป อภิปรายผล ให้ข้อเสนอแนะงานวิจัย

อัตราค่าบริการลงรหัสแบบสอบถาม (คีย์ข้อมูล) และให้คำปรึกษาการใช้งาน SPSS มีดังนี้

1. คีย์ข้อมูลแบบสอบถาม ราคา 5 - 35 บาท / ชุด (ประเมินจากจำนวนข้อคำถาม)

2. ให้คำปรึกษา การประมวลผลด้วยโปรแกรม SPSS ราคา 1,000 - 2,000 บาท (ประเมินจากจำนวนสถิติที่วิเคราะห์)

3. ให้คำปรึกษาการวิเคราะห์ข้อมูล จัดทำบทที่ 4 ราคา 3,000 บาท

4. ให้คำปรึกษา การจัดทำการสรุปผล อภิปรายผล และให้ข้อเสนอแนะงานวิจัย บทที่ 5 ราคา 3,000 บาท

5. ติว ให้ความรู้ การใช้โปรแกรม SPSS แบบตัว-ตัว ชั่วโมงละ 300 บาท ติวขั้นต่ำ 2 ชั่วโมงขึ้นไป


นอกจากนี้ยังมีบริการเขียนบทคัดย่อ Abstract บทความวิจัย จัดรูปแบบงานวิจัย และกระบวนการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย ปริญญานิพนธ์ สารนิพนธ์ และวิทยานิพนธ์ ตัั้งแต่ต้นจนจบ ด้วยทีมงานมืออาชีพ ตรงต่อเวลา ในราคาย่อมเยา หากสนใจ...... 
สามารถสอบถามข้อมูลได้ที่ โทร. 085 934 1130 
Line : bearytutor 
Email : bearytutor@gmail.com

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

วิธีสร้างรหัสแบบสอบถาม ก่อนเข้าสู่การใช้งาน SPSS

แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือการวิจัยที่ได้รับความนิยมจากนักวิจัย และนักเรียน นักศึกษา ในระดับต่างๆ เป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตาม หลังจากที่เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างครบถ้วนแล้ว กระบวนการถัดมาคือการ  คีย์ข้อมูล  ลงโปรแกรม SPSS แต่ด้วยจำนวนแบบสอบถามที่มีเป็นจำนวนมาก โดยแต่ละชุดก็มีข้อคำถามที่หลากหลาย ดังนั้น เพื่อเป็นการลดความผิดพลาด จึงควรมีการ  สร้างรหัสแบบสอบถาม เพื่อให้การ  ลงข้อมูล หรือ คีย์แบบสอบถาม เป็นไปอย่างถูกต้อง โดย BEARY Tutor มีข้อแนะนำดังนี้ 1. เขียนรหัสแบบสอบถามเพื่อเรียงลำดับชุด ในการทำวิจัยแต่ละครั้ง มักใช้  แบบสอบถาม  เป็นจำนวนมาก นอกจากนี้ในแต่ละชุดยังประกอบไปด้วยจำนวนข้อคำถามมีหลายข้อ การเขียนรหัสแบบสอบถาม ลงบนหัวกระดาษ ซึ่งปกติจะเขียนบริเวณมุมบนขวา โดยใช้ตัวเลข 3 หลัก (ตามจำนวนชุดของแบบสอบถามทั้งหมด) เรียงตามลำดับการ ลงรหัสแบบสอบถาม ( คีย์ข้อมูลแบบสอบถาม ) เพื่อป้องกันความสับสนระหว่างการคีย์ รวมไปถึงการแก้ไขข้อมูลได้อย่างถูกต้อง ในกรณีที่มีการคีย์ผิดพลาด 2. สร้างรหัสตัวแปร  การลงรหัสแบบสอบถาม จำเป็นต้องสร้างรหัสของข...

เคล็ดลับสอบ ก.พ. ภาค ก : การทำข้อสอบอนุกรม

การ สอบ ก.พ. ภาค ก ในปัจจุบัน ได้แบ่งออกเป็น การสอบการคิดวิเคราะห์ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ แม้ว่ารูปแบบข้อสอบจะเปลี่ยนไปบ้าง แต่มีสิ่งหนึ่งที่ยังคงอยู่และเป็นข้อสอบที่หลายๆ คน มองว่าเป็นเรื่องที่ยาก นั่นคือ "อนุกรม" อนุกรม หมายถึง ชุดของตัวเลขที่เรียงลำดับกันอย่างเป็นระบบ โดยแบ่งออกเป็นเพิ่มขึ้น (การบวกและคูณ) และลดลง (การลบและหาร) ซึ่งความยากของการทำข้อสอบอนุกรมก็คือการค้นหาระบบที่ทางผู้ออกข้อสอบต้องการนั่นเอง โดยเคล็ดลับและวิธีการทำข้อสอบอนุกรมสามารถพิจารณาได้จากวิธีการดังต่อไปนี้ 1. อนุกรมลำดับชั้น วิธีการทำข้อสอบคือการลองหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวเลขโดยการตีแฉก แล้วคำนวณดูว่าตัวเลขแต่ละลำดับนั้นห่างกันเท่าไหร่ และห่างกันอย่างไร ดังแสดงให้เห็นได้ในภาพที่ 1     ภาพที่ 1 2. อนุกรมสะสม วิธีการทำข้อสอบคือการลองหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวเลขในแต่ละชุด อาจกำหนดเป็นชุดละ 2 หรือ 3 ลำดับ แล้วพิจารณาดูว่าผลจากการคำนวณนั้นตรงกับลำดับถัดไปหรือไม่? หากใช่ ให้ลองทำกับลำดับต่อๆ ไป จนได้คำตอบในลำดับสุดท้าย ดังแสดงให้เห็นได้ในภาพที่ 2 ภาพที่ 2   นอก...

ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของ Maslow ทฤษฎีคลาสสิคที่ใช้ในงานวิจัย

ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของ Maslow (Maslow's hierarchy of needs) ภาพ ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของ Maslow ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/ลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ ในการจัดทำงานวิจัย ไม่ว่าจะเป็นงานวิจัยทางการตลาด การทำวิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาทางด้านการตลาด หรือพฤติกรรมผู้บริโภค จะต้องมีการศึกษาทฤษฎีหนึ่งซึ่งเป็นทฤษฎีอมตะที่บ่งบอกถึงความต้องการของมนุษย์ไว้ได้อย่างชัดเจนและเข้าใจง่าย นั่นคือ " ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของ Maslow (Maslow's hierarchy of needs) "  Abraham H. Maslow (1954 อ้างถึงในวิบูลย์ จุง, 2550) อธิบายว่า พฤติกรรมของมนุษย์เป็นจำนวนมากสามารถอธิบายโดยใช้แนวโน้มของบุคคลในการค้นหาเป้าหมายที่จะทำให้ชีวิตของเขาได้รับความต้องการ ความปรารถนา และได้รับสิ่งที่มีความหมายต่อตนเอง โดยลำดับขั้นความต้องการของมนุษย์ (The Need –Hierarchy Conception of Human Motivation) สามารถเรียงไว้อย่างเป็นลำดับ ได้ดังนี้ 1. ความต้องการทางร่างกาย ( Physiological needs ) เป็นความต้องการขั้นพื้นฐาน ที่มีอำนาจมากที่สุดและสังเกตเห็นได้ชัดท...