ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

เคล็ดลับสอบ ก.พ. ภาค ก : การทำข้อสอบอนุกรม


การ สอบ ก.พ. ภาค ก ในปัจจุบัน ได้แบ่งออกเป็น การสอบการคิดวิเคราะห์ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ แม้ว่ารูปแบบข้อสอบจะเปลี่ยนไปบ้าง แต่มีสิ่งหนึ่งที่ยังคงอยู่และเป็นข้อสอบที่หลายๆ คน มองว่าเป็นเรื่องที่ยาก นั่นคือ "อนุกรม"

อนุกรม หมายถึง ชุดของตัวเลขที่เรียงลำดับกันอย่างเป็นระบบ โดยแบ่งออกเป็นเพิ่มขึ้น (การบวกและคูณ) และลดลง (การลบและหาร) ซึ่งความยากของการทำข้อสอบอนุกรมก็คือการค้นหาระบบที่ทางผู้ออกข้อสอบต้องการนั่นเอง โดยเคล็ดลับและวิธีการทำข้อสอบอนุกรมสามารถพิจารณาได้จากวิธีการดังต่อไปนี้

1. อนุกรมลำดับชั้น วิธีการทำข้อสอบคือการลองหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวเลขโดยการตีแฉก แล้วคำนวณดูว่าตัวเลขแต่ละลำดับนั้นห่างกันเท่าไหร่ และห่างกันอย่างไร ดังแสดงให้เห็นได้ในภาพที่ 1


   ภาพที่ 1


2. อนุกรมสะสม วิธีการทำข้อสอบคือการลองหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวเลขในแต่ละชุด อาจกำหนดเป็นชุดละ 2 หรือ 3 ลำดับ แล้วพิจารณาดูว่าผลจากการคำนวณนั้นตรงกับลำดับถัดไปหรือไม่? หากใช่ ให้ลองทำกับลำดับต่อๆ ไป จนได้คำตอบในลำดับสุดท้าย ดังแสดงให้เห็นได้ในภาพที่ 2


ภาพที่ 2
 
นอกจาก อนุกรม ทั้งสองแบบที่ยกตัวอย่างไปแล้วนั้น การทำข้อสอบอนุกรมยังมีอีกหลายรูปแบบ เช่น อนุกรมกั้นห้อง อนุกรมเศษส่วน เป็นต้น ผู้ที่สนใจสามารถส่งตัวอย่างข้อสอบอนุกรมที่สงสัยมาสอบถามพวกเราได้ที่อีเมล์ bearytutor@gmail.com และไลน์ไอดี bearytutor
 
 
สำหรับผู้ที่สนใจเตรียมความพร้อมเข้าสู่สนามสอบ ก.พ. ภาค ก ประจำปี 2558 ที่กำลังจะเปิดรับสมัครสอบในเร็วๆ นี้ สามารถใช้บริการติวสอบ ก.พ. ภาค ก แบบตัว ต่อ ตัว ราคาประหยัด จากติวเตอร์มืออาชีพ มากประสบการณ์ ที่ผ่านการสอบ และเป็นข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจชั้นนำของประเทศ จาก BEARY Tutor
 
ประเภทข้อสอบ ก.พ. ภาค ก
 
ข้อสอบด้านเหตุผล คิดวิเคราะห์ และคำนวณ เช่น อนุกรม สดมภ์ คณิตศาสตร์ทั่วไป ตรรกศาสตร์ การอ่านตารางและกราฟ เป็นต้น
 
ข้อสอบด้านภาษาไทย เช่น อุปมาอุปไมย บทความสั้น-บทความยาว คำถูก-คำผิด เป็นต้น
 
ข้อสอบภาษาอังกฤษ เช่น คำศัพท์ (vocabulary) ไวยากรณ์ (grammar) รูปประโยคต่างๆ (sentence) เป็นต้น    
 
 
อัตราค่าเรียนพร้อมชีทประกอบการสอน
 
อัตราค่าเรียน ชั่วโมงละ 300 บาท ต่อครั้ง ต่อคน ติวขั้นต่ำ 2 ชั่วโมง
 
พิเศษ หากรวมกลุ่มผู้เรียนตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป คิดค่าเรียนพิเศษที่ ชั่วโมงละ 250 บาท ต่อครั้ง ต่อคน ติวขั้นต่ำ 2 ชั่วโมง
 
สถานที่เรียน : ที่พักอาศัยของผู้เรียน มหาวิทยาลัย สถานที่สาธารณะ หรือห้างสรรพสินค้าที่มีความสงบ และสะดวกต่อการเดินทาง เฉพาะเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเท่านั้น!!!
 
อย่าพลาดหากคุณอยากผ่านภาค ก พร้อมนำความรู้ที่ได้ไปสอบกับสนามสอบราชการอื่นๆ ได้ด้วย
 
สนใจสามารถโทรมาปรึกษา หรือสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทร : 085 934 1130


ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

วิธีสร้างรหัสแบบสอบถาม ก่อนเข้าสู่การใช้งาน SPSS

แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือการวิจัยที่ได้รับความนิยมจากนักวิจัย และนักเรียน นักศึกษา ในระดับต่างๆ เป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตาม หลังจากที่เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างครบถ้วนแล้ว กระบวนการถัดมาคือการ  คีย์ข้อมูล  ลงโปรแกรม SPSS แต่ด้วยจำนวนแบบสอบถามที่มีเป็นจำนวนมาก โดยแต่ละชุดก็มีข้อคำถามที่หลากหลาย ดังนั้น เพื่อเป็นการลดความผิดพลาด จึงควรมีการ  สร้างรหัสแบบสอบถาม เพื่อให้การ  ลงข้อมูล หรือ คีย์แบบสอบถาม เป็นไปอย่างถูกต้อง โดย BEARY Tutor มีข้อแนะนำดังนี้ 1. เขียนรหัสแบบสอบถามเพื่อเรียงลำดับชุด ในการทำวิจัยแต่ละครั้ง มักใช้  แบบสอบถาม  เป็นจำนวนมาก นอกจากนี้ในแต่ละชุดยังประกอบไปด้วยจำนวนข้อคำถามมีหลายข้อ การเขียนรหัสแบบสอบถาม ลงบนหัวกระดาษ ซึ่งปกติจะเขียนบริเวณมุมบนขวา โดยใช้ตัวเลข 3 หลัก (ตามจำนวนชุดของแบบสอบถามทั้งหมด) เรียงตามลำดับการ ลงรหัสแบบสอบถาม ( คีย์ข้อมูลแบบสอบถาม ) เพื่อป้องกันความสับสนระหว่างการคีย์ รวมไปถึงการแก้ไขข้อมูลได้อย่างถูกต้อง ในกรณีที่มีการคีย์ผิดพลาด 2. สร้างรหัสตัวแปร  การลงรหัสแบบสอบถาม จำเป็นต้องสร้างรหัสของข้อมูล ซึ่งก็คือตัวแปรต่างๆ เพื่อให

ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของ Maslow ทฤษฎีคลาสสิคที่ใช้ในงานวิจัย

ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของ Maslow (Maslow's hierarchy of needs) ภาพ ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของ Maslow ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/ลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ ในการจัดทำงานวิจัย ไม่ว่าจะเป็นงานวิจัยทางการตลาด การทำวิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาทางด้านการตลาด หรือพฤติกรรมผู้บริโภค จะต้องมีการศึกษาทฤษฎีหนึ่งซึ่งเป็นทฤษฎีอมตะที่บ่งบอกถึงความต้องการของมนุษย์ไว้ได้อย่างชัดเจนและเข้าใจง่าย นั่นคือ " ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของ Maslow (Maslow's hierarchy of needs) "  Abraham H. Maslow (1954 อ้างถึงในวิบูลย์ จุง, 2550) อธิบายว่า พฤติกรรมของมนุษย์เป็นจำนวนมากสามารถอธิบายโดยใช้แนวโน้มของบุคคลในการค้นหาเป้าหมายที่จะทำให้ชีวิตของเขาได้รับความต้องการ ความปรารถนา และได้รับสิ่งที่มีความหมายต่อตนเอง โดยลำดับขั้นความต้องการของมนุษย์ (The Need –Hierarchy Conception of Human Motivation) สามารถเรียงไว้อย่างเป็นลำดับ ได้ดังนี้ 1. ความต้องการทางร่างกาย ( Physiological needs ) เป็นความต้องการขั้นพื้นฐาน ที่มีอำนาจมากที่สุดและสังเกตเห็นได้ชัดท