ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

แนวข้อสอบ ก.พ. ภาค ก 2559


การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ของ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) หรือที่รู้จักกันในนาม สอบ ก.พ. ภาค ก นั้น ถือเป็นอีกหนึ่งสนามสอบที่มีความสำคัญของผู้ที่ใฝ่ฝันจะสอบเข้ารับราชการทุกท่านเฝ้ารอ และมีความใฝ่ฝันว่าจะต้องฝ่าฝันไปให้ได้ ซึ่งในปี พ.ศ. 2559 นี้ ได้มีการจัดสอบ 2 รอบ ได้แก่ วันที่ 10 กรกฎาคม และวันที่ 21 สิงหาคม 2559 (เปลี่ยนจากวันที่ 7 สิงหาคม เนื่องจากตรงกับวันลงประชามติฯ)




สำหรับผู้สมัครสอบ ก.พ. ภาค ก หน้าใหม่ หรือผู้ที่เคยสอบนานมาแล้ว อาจยังไม่รู้ว่าในปีนี้ทาง สำนักงาน ก.พ. มีการออกข้อสอบนำนวนกี่ข้อ อะไรบ้าง และมีเวลาทำกี่ชั่วโมง วันนี้ Blog Beary tutor นำคำตอบมาให้ครับ


หลักเกณฑ์การสอบ ก.พ. ภาค ก ประจำปี 2559

จำนวนข้อสอบทั้งหมด 85 ข้อ แบ่งเป็น

1) วิชาความสามารถทั่วไป จำนวน 40 ข้อ ได้แก่
- อนุกรม 5 ข้อ
- คณิตศาสตร์ทั่วไป 5 ข้อ
- ตารางและกราฟ 5 ข้อ
- สดมภ์ 5 ข้อ
- อุปมาอุปมัย 5 ข้อ
- เงื่อนไขสัญลักษณ์ 5 ข้อ
- เงื่อนไขภาษา 5 ข้อ
- ตรรกศาสตร์ 5 ข้อ

2) วิชาภาษาไทย จำนวน 20 ข้อ ได้แก่
- การบกพร่องในการใช้ภาษาแบบขีดเส้นใต้ (ก ข ค) 5 ข้อ
- เรียงประโยค 5 ข้อ
- บทความ (สั้น + ยาว) 10 ข้อ

โดยผู้เข้าสอบในระดับปริญญาตรี จะต้องทำคะแนนทั้งสองส่วนรวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ส่วนระดับปริญญาโท จะต้องทำคะแนนทั้งสองส่วนรวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 65

3) วิชาภาษาอังกฤษ จำนวน 25 ข้อ ได้แก่
- Conversation 5 ข้อ
- Vocabulary และ Expressions 5 ข้อ
- Structure 5 ข้อ
- Reading Comprehension 10 ข้อ

โดยผู้เข้าสอบทั้งในระดับปริญญาตรีและระดับปริญญาโท จะต้องทำ คะแนนวิชาภาษาอังกฤษไม่น้อยกว่าร้อยละ 50

*** ผู้สมัครสอบที่ผ่านความสามารถทั่วไป + ภาษาไทย แต่ไม่ผ่านวิชาภาษาอังกฤษ สามารถสมัครสอบได้อีกครั้ง ตามประกาศในวันประกาศผลสอบ ก.พ. ประจำปี พ.ศ.59 (4 พ.ย. 59) หรือส่งผลการสอบภาษาอังกฤษที่มีคะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป ของ TOEFL TOEIC IELTS CU-TEP หรือ TU-GET ที่ยังไม่หมดอายุ ไปที่สำนักงาน ก.พ. ได้ตั้งแต่วันที่ 30 พ.ค. 59 - 3 ม.ค. 60 รายละเอียดเพิ่มเติม http://job.ocsc.go.th หรือ    โทร. 02-5471116, 02-5471329 ในเวลาราชการ




 จำนวนผู้มีสิทธิ์เข้าสอบ ก.พ. ภาค ก ปี 2559


การ สอบ ก.พ. ภาค ก ไม่ได้ยากอย่างที่คิด หากใครดูแนวข้อสอบแล้วยังไม่มีความมั่นใจ ในช่วงโค้งสุดท้ายนี้ สามารถให้พวกเรา Beary tutor เป็นผู้ช่วย ด้วยบริการติว สอบ ก.พ. ภาค ก แบบตัว-ต่อ-ตัว ที่เข้าใจกว่า ส่วนตัวกว่า พร้อมเอกสารการสอน เริ่มต้นเพียง ชั่วโมงละ 400 บาท พิเศษ! หากมีผู้เรียน มากกว่า 3 คน เหลือเพียง ชั่วโมงละ 300 บาท ต่อคนเท่านั้น


จองคิวก่อน มีสิทธิ์ก่อน เต็มแล้วเต็มเลย ไม่รับติวร่วมนอกกลุ่ม เพื่อความเข้าใจที่ดีกว่า

สนใจสามารถโทรมาปรึกษา หรือสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่

โทร : 085 934 1130

Line id : bearytutor

E-mail : bearytutor@gmail.com


ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

เคล็ดลับสอบ ก.พ. ภาค ก : การทำข้อสอบอนุกรม

การ สอบ ก.พ. ภาค ก ในปัจจุบัน ได้แบ่งออกเป็น การสอบการคิดวิเคราะห์ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ แม้ว่ารูปแบบข้อสอบจะเปลี่ยนไปบ้าง แต่มีสิ่งหนึ่งที่ยังคงอยู่และเป็นข้อสอบที่หลายๆ คน มองว่าเป็นเรื่องที่ยาก นั่นคือ "อนุกรม" อนุกรม หมายถึง ชุดของตัวเลขที่เรียงลำดับกันอย่างเป็นระบบ โดยแบ่งออกเป็นเพิ่มขึ้น (การบวกและคูณ) และลดลง (การลบและหาร) ซึ่งความยากของการทำข้อสอบอนุกรมก็คือการค้นหาระบบที่ทางผู้ออกข้อสอบต้องการนั่นเอง โดยเคล็ดลับและวิธีการทำข้อสอบอนุกรมสามารถพิจารณาได้จากวิธีการดังต่อไปนี้ 1. อนุกรมลำดับชั้น วิธีการทำข้อสอบคือการลองหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวเลขโดยการตีแฉก แล้วคำนวณดูว่าตัวเลขแต่ละลำดับนั้นห่างกันเท่าไหร่ และห่างกันอย่างไร ดังแสดงให้เห็นได้ในภาพที่ 1     ภาพที่ 1 2. อนุกรมสะสม วิธีการทำข้อสอบคือการลองหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวเลขในแต่ละชุด อาจกำหนดเป็นชุดละ 2 หรือ 3 ลำดับ แล้วพิจารณาดูว่าผลจากการคำนวณนั้นตรงกับลำดับถัดไปหรือไม่? หากใช่ ให้ลองทำกับลำดับต่อๆ ไป จนได้คำตอบในลำดับสุดท้าย ดังแสดงให้เห็นได้ในภาพที่ 2 ภาพที่ 2   นอกจาก อนุกรม ทั้งสอง

วิธีสร้างรหัสแบบสอบถาม ก่อนเข้าสู่การใช้งาน SPSS

แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือการวิจัยที่ได้รับความนิยมจากนักวิจัย และนักเรียน นักศึกษา ในระดับต่างๆ เป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตาม หลังจากที่เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างครบถ้วนแล้ว กระบวนการถัดมาคือการ  คีย์ข้อมูล  ลงโปรแกรม SPSS แต่ด้วยจำนวนแบบสอบถามที่มีเป็นจำนวนมาก โดยแต่ละชุดก็มีข้อคำถามที่หลากหลาย ดังนั้น เพื่อเป็นการลดความผิดพลาด จึงควรมีการ  สร้างรหัสแบบสอบถาม เพื่อให้การ  ลงข้อมูล หรือ คีย์แบบสอบถาม เป็นไปอย่างถูกต้อง โดย BEARY Tutor มีข้อแนะนำดังนี้ 1. เขียนรหัสแบบสอบถามเพื่อเรียงลำดับชุด ในการทำวิจัยแต่ละครั้ง มักใช้  แบบสอบถาม  เป็นจำนวนมาก นอกจากนี้ในแต่ละชุดยังประกอบไปด้วยจำนวนข้อคำถามมีหลายข้อ การเขียนรหัสแบบสอบถาม ลงบนหัวกระดาษ ซึ่งปกติจะเขียนบริเวณมุมบนขวา โดยใช้ตัวเลข 3 หลัก (ตามจำนวนชุดของแบบสอบถามทั้งหมด) เรียงตามลำดับการ ลงรหัสแบบสอบถาม ( คีย์ข้อมูลแบบสอบถาม ) เพื่อป้องกันความสับสนระหว่างการคีย์ รวมไปถึงการแก้ไขข้อมูลได้อย่างถูกต้อง ในกรณีที่มีการคีย์ผิดพลาด 2. สร้างรหัสตัวแปร  การลงรหัสแบบสอบถาม จำเป็นต้องสร้างรหัสของข้อมูล ซึ่งก็คือตัวแปรต่างๆ เพื่อให

ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของ Maslow ทฤษฎีคลาสสิคที่ใช้ในงานวิจัย

ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของ Maslow (Maslow's hierarchy of needs) ภาพ ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของ Maslow ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/ลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ ในการจัดทำงานวิจัย ไม่ว่าจะเป็นงานวิจัยทางการตลาด การทำวิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาทางด้านการตลาด หรือพฤติกรรมผู้บริโภค จะต้องมีการศึกษาทฤษฎีหนึ่งซึ่งเป็นทฤษฎีอมตะที่บ่งบอกถึงความต้องการของมนุษย์ไว้ได้อย่างชัดเจนและเข้าใจง่าย นั่นคือ " ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของ Maslow (Maslow's hierarchy of needs) "  Abraham H. Maslow (1954 อ้างถึงในวิบูลย์ จุง, 2550) อธิบายว่า พฤติกรรมของมนุษย์เป็นจำนวนมากสามารถอธิบายโดยใช้แนวโน้มของบุคคลในการค้นหาเป้าหมายที่จะทำให้ชีวิตของเขาได้รับความต้องการ ความปรารถนา และได้รับสิ่งที่มีความหมายต่อตนเอง โดยลำดับขั้นความต้องการของมนุษย์ (The Need –Hierarchy Conception of Human Motivation) สามารถเรียงไว้อย่างเป็นลำดับ ได้ดังนี้ 1. ความต้องการทางร่างกาย ( Physiological needs ) เป็นความต้องการขั้นพื้นฐาน ที่มีอำนาจมากที่สุดและสังเกตเห็นได้ชัดท